วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 12.30-17.30 น. ณ ห้องวิเทศสโมสร ส่วน 3 กระทรวง การต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา

การสันา เรื่อง "ยุทธศาสตร์และแผนงานของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค"

แผนงานของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ตลอดจนความร่วมมือ
ร่วมกันในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค

วัน เวลา และสถานที่

วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 12.30-17.30 น. ณ ห้องวิเทศสโมสร ส่วน 3 กระทรวง
การต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา

ผู้ร่วมสัมมนา

ผู้ปฎิบัติงานด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (ประเด็นสิทธิมนุษยชนและอาเซียน) จาก
ภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน เครือข่ายเยาวชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
รวมถึงภาคราชการและนักวิชาการ จำนวน 50-70 คน
เอกสารแนบ 1
การสมัมนา เรื่อง
"ยุทธศาสตร์และแผนงานของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่าด้วย
การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค"
ความเป็นมา
คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน-ไอชาร์ (ASEAN
Intergovernmental Commission on Human Rights -AICHR) ที่ได้รับการระบุในมาตรา 14 ของ
กฎบัตรอาเซียน ได้มีการประกาศจัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในการประชุมสุดยอดผู้นำสมาคม
ประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียนซัมมิท) ครั้งที่ 15 ณ ชะอำ-หัวหิน เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม
2552 โดยขอบเขตอำนาจหน้าที่ (TORs) ของคณะกรรมาธิการฯ มีอำนาจหน้าที่ครอบคลุมทั้งการ
ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน หนึ่งในภาระหน้าที่คือการวางยุทธศาสตร์และจัดทำแผนเพื่อ
ดำเนินกิจกรรมในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ (TORs)
คณะกรรมาธิการฯ ได้มีการประชุม (อย่างไม่เป็นทาง) ไปแล้ว 2 ครั้ง ครั้งแรก เมื่อวันที่
24 ตุลาคม 2552 เพื่อทำความรู้จักซึ่งกันและกันระหว่างผู้แทนแต่ละประเทศ และครั้งที่สอง
ระหว่างวันที่ 18-19 ธันวาคม 2552 เพื่อวางแนวทางโครงร่างของ Rules of procedure ในการทำงาน
ร่วมกัน วางแนวทางการจัดทำแผนงาน 5 ปี กำหนดภาระกิจและงานเร่งด่วนสำหรับปี 2010
กำหนดห้วงเวลาสำหรับการประชุมในปี 2010 ซึ่งการประชุมคณะกรรมาธิการฯ อย่างเป็นทางการ
ครั้งแรก กำหนดให้มีขึ้นในปลายเดือนมีนาคมศกนี้ (28 มีนาคม – 2 เมษายน 2553) ณ กรุง
จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อร่วมกันพิจารณายุทธศาสตร์ และแผนการดำเนินงานทั้งระยะสั้น
(1-3 ปี) และระยะยาว ( 5 ปี) รวมทั้งการจัดทำ Rule of procedure ของคณะกรรมาธิการฯ
ผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการฯ และกระทรวงการต่างประเทศเห็นความสำคัญของการมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตั้งแต่ระดับวางแผนจนถึงการดำเนินงานของคณะกรรมกาธิการฯ จึงเห็น
ควรจัดการประชุมระดมข้อมูลและความคิดเห็นและเพื่อส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วน
โดยเฉพาะภาคประชาสังคมและภาควิชาการเข้ามามีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์ สร้างบรรยากาศแห่ง
การปรึกษาหารือและการทำงานร่วมกัน สนับสนุน ติดตาม และนำเสนอข้อคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
ต่อการทำงาน (หน้าที่) ของคณะกรรมาธิการฯ รวมทั้งผู้แทนไทยฯ เพื่อให้สามารถส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับประเทศและภูมิภาคอย่างแท้จริง โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง
ตามเจตนารมย์ของอาเซียน
1
ผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ร่วมกัน กรม
อาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ จึงริเริ่มให้มีจัดมีการสัมมนา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาคประชาสังคมและภาควิชาการ
ในการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการฯ เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนใน
ภูมิภาค
2. เพื่อระดมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการวางยุทธศาสตร์และจัดทำแผนงานการ
ดำเนินงานของคณะกรรมาธิการฯ
3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือร่วมกันระหว่างผู้แทนไทยฯ กับทุกภาคส่วน
4. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับบทบาทของคณะกรรมาธิการฯ และผู้แทนไทยฯ
รูปแบบและเนื้อหาการสัมมนา
การสัมมนาที่จะจัดให้มีขึ้นในครั้งนี้ จะเน้นการแลกเปลี่ยนข้อมูลและระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ
แผนงานของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ตลอดจนความร่วมมือ
ร่วมกันในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค
วัน เวลา และสถานที่
วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 12.30-17.30 น. ณ ห้องวิเทศสโมสร ส่วน 3 กระทรวง
การต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา
ผู้ร่วมสัมมนา
ผู้ปฎิบัติงานด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (ประเด็นสิทธิมนุษยชนและอาเซียน) จาก
ภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน เครือข่ายเยาวชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
รวมถึงภาคราชการและนักวิชาการ จำนวน 50-70 คน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้แทนจากทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการฯ เพื่อ
ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค
2. ได้ความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับยุทธศาสตร์และแผนงานของคณะกรรมาธิการฯ
3. เกิดความร่วมมือในการทำงานร่วมกันระหว่างผู้แทนไทยฯ กับทุกภาคส่วน
2
4. ผู้เข้าร่วมสัมมนามีความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่า
ด้วยสิทธิมนุษยชน รวมทั้งผู้แทนไทยฯ
องค์กรผู้จัดการสัมมนา
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ผู้ประสานงาน
ศันสนีย์ สุทธิศันสนีย์ โทรศัพท์ (081) 862-8614 E-mail: annsunsanee@hotmail.com
3
กำหนดการสัมมนา เรื่อง
"ยุทธศาสตร์และแผนงานของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่าด้วย
การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค"
วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 12.30-17.30 น.
ณ ห้องวิเทศสโมสร ส่วน 3 กระทรวงการต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา
*******
12.30 – 13.00 ลงทะเบียน
13.00 - 13.10 กล่าวต้อนรับและเปิดงาน โดย ดร. ศรีประภา เพชรมีศรี
ผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
13.10 – 13.45 คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (AICHR) และ
แผนงานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค
- ทำความเข้าใจบทบาท AICHR และบทบาทการทำงานของผู้แทนไทยฯ
- ความคืบหน้าการประชุม AICHR
- การจัดทำแผนงานของ AICHR และผู้แทนไทยฯ
โดย ดร. ศรีประภา เพชรมีศรี ผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาล
อาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
14.45 - 15.00 พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 15.15 ชี้แจงกรอบแผนการดำเนินงาน 1 ปี และ 5 ปี
15.15 – 16.30 ระดมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะถึงแผนงานระยะสั้น และแผนงาน 5 ปีของ
AICHR (แบ่งกลุ่มย่อย โดยกำหนดประเด็นหัวข้อในการหารือ 1 ช.ม)
16.30- 17.00 นำเสนอผลการประชุมกลุ่มย่อยและอภิปรายกลุ่มใหญ่
17.00 - 17.30 สรุปผลการประชุมปิดการประชุม
4
ใบตอบรับเข้าร่วมการสัมมนา
เรื่อง
5
"ยุทธศาสตร์และแผนงานของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่าด้วย
การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค"
วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 12.30-17.30 น.
ณ ห้องห้องวิเทศสโมสร ส่วน 3 กระทรวงการต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา
ชื่อ ___________________________________________________ ตำแหน่ง _______________________________
หน่วยงาน ____________________________________________________________________________________
ที่อยู่ _________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
โทรศัพท์ _______________________________________________โทรสาร _______________________________
อีเมล์ ________________________________________________________________________________________
􀂁 สามารถเข้าร่วมประชุมได้
􀂁 ไม่สามารถเข้าร่วมสัมมนาได้ และขอส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุม
(1) ชื่อ ตำแหน่ง
(2) ชื่อ ตำแหน่ง
􀂁 ไม่สามารถเข้าร่วมการประชุม และไม่ส่งผู้แทนเข้าร่วมการประชุมดังกล่าว
รายชื่อผู้ประสงค์จะเข้าร่วมประชุมเพิ่มเติม (ไม่จำกัดจำนวน)
1. ชื่อ ตำแหน่ง
ชื่อ ตำแหน่ง 2.
3. ชื่อ ตำแหน่ง
กรุณาส่งแบบตอบรับภายในวันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2553
โทรสารหมายเลข 02 643 5223 หรือทาง E-mail : annsunsanee@hotmail.com
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศันสนีย์ สุทธิศันสนีย์ โทรศัพท์ (081) 862-8614
เอกสารแนบ 2

--
โปรดอ่านบล็อก
http://www.pridiinstitute.com
http://www.nakkhaothai.com
http://twitter.com/sweetblog
http://twitter.com/oknewsblog
http://twitter.com/okblogger
http://twitter.com/sat191
http://www.pacc.go.th/
http://twitter.com/okblogchan
http://twitter.com/sun1951
http://twitter.com/smeblogger
http://twitter.com/seminarblog
http://twitter.com/sunnewsblog
http://twitter.com/okworldblog
http://twitter.com/ktblogger
http://twitter.com/sundayblog
http://twitter.com/mondayblog
http://twitter.com/tuesdayblog
http://twitter.com/wednesdayblog
http://twitter.com/thursdayblog
http://twitter.com/fridayblog
http://twitter.com/saturdayblog

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ผู้ติดตาม

คลังบทความของบล็อก