ก๊าซรั่ว ขยะสารเคมี และมลพิษในนิคมอุตสาหกรรม !! จะแก้ปัญหากันอย่างไร?
สถานการณ์สิ่งแวดล้อมของโลกเป็นอย่างไร ...วิกฤตขนาดไหน ต่างประเทศเตรียมรับมือมือกับปัญหาสิ่งแวดล้อมกันอย่างไร โรงไฟฟ้า นิคมอุตสาหกรรม กากสารพิษ ประเทศไทยจะรับมือกับปัญหาเหล่านี้และจะมีวิธีทางป้องกันอย่างไร ร่วมวิเคราะห์เจาะลึกทุกประเด็นจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ โดย ศ.ดร.เมธี เวชารัตนา คณะวิศวกรรมโยธาและวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีแห่งนิวเจอซี่ สหรัฐอเมริกา “ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดสิ่งแวดล้อม วัตถุมีพิษ และกากของเสียอันตราย”
คุณสุเมธา วิเชียรเพชร ผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการฉุกเฉินและฟื้นฟู กรมควบคุมมลพิษ “บุคคลแรกที่เข้าไปปฏิบัติการตรวจสอบ ควบคุม แก้ไข ระงับหรือฟื้นฟู ทุกพื้นที่ที่เกิดปัญหามลพิษในประเทศไทย”
คุณจิตติมา บ้านสร้าง รองประธานชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม 2553 เวลา 09.30 – 11.30 น. ณ ห้องประชุม 110 ส่วนงานกลาง
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี
สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.nstda.or.th/rbd
สนใจลงทะเบียนเข้าฟังล่วงหน้าได้ที่
โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1461-2
อีเมล์ : thaismc@nstda.or.th
กำหนดการงานเสวนา
09.00 – 09.30 น. ลงทะเบียน
09.30 – 11.00 น. ดร.นพวรรณ ตันพิพัฒน์ ผู้ดำเนินรายการกล่าวเชิญวิทยากร ทั้ง 3 ท่าน แนะนำประวัติ
ส่วนตัวและเริ่มการเสวนา
11.00 – 11.25 น. ถาม – ตอบ
11.25 – 11.30 น. ผู้ดำเนินรายการ กล่าวขอบคุณและมอบของที่ระลึกให้วิทยากรทั้ง 3 ท่าน
11.30 น. ปิดการเสวนา
รายชื่อวิทยากรรับเชิญ
ศ.ดร.เมธี เวชารัตนา คณะวิศวกรรมโยธาและวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีแห่งนิวเจอซี่ สหรัฐอเมริกา
จะนำเสนอข้อมูลและบอกเล่าถึงสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของโลกในปัจจุบันเป็นอย่าง ไร มีการเปลี่ยนแปลงจากอดีตมากน้อยอย่างไร และวิธีการบริหารจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อม ได้แก่ มลพิษกากของเสียอันตราย โลหะหนัก ก๊าซพิษ รวมถึงแนวทางการป้องกันและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของต่างประเทศ
คุณสุเมธา วิเชียรเพชร ผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการฉุกเฉินและฟื้นฟู กรมควบคุมมลพิษ
จะนำเสนอข้อมูลสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย และประมวลข้อมูลสถานการณ์และแนวทางในการป้องกันเกี่ยวกับปัญหา กากของเสีย สารอันตราย รวมทั้งบอกเล่าถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในนิคมอุตสาหกรรม เพื่อให้ผู้เข้าฟังได้ตระหนักและรับรู้ถึงข้อมูลที่เป็นจริง
คุณจิตติมา บ้านสร้าง รองประธานชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย จะนำเสนอข้อมูลในมุมมองของสื่อสารมวลชนด้านสิ่งแวดล้อม มีมุมมองแนวคิดอย่างไรกับสิ่งแวดล้อม และวิธีการแก้ไขปัญหาของภาครัฐบาล รวมถึงบทบาทการทำงานของนักสื่อสารมวลชนจะมีบทบาทอย่างไรในการแก้ไขปัญหาสิ่ง แวดล้อมของประเทศไทย
--
ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
http://www.thaifreedompress.blogspot.com/
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.media4democracy.com/th/
http://www.youngtelecom.org/
http://www.logex.kmutt.ac.th/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm
http://www.isriya.com/node/2809/wordcamp-bangkok-2009-pool-party
สถานการณ์สิ่งแวดล้อมของโลกเป็นอย่างไร ...วิกฤตขนาดไหน ต่างประเทศเตรียมรับมือมือกับปัญหาสิ่งแวดล้อมกันอย่างไร โรงไฟฟ้า นิคมอุตสาหกรรม กากสารพิษ ประเทศไทยจะรับมือกับปัญหาเหล่านี้และจะมีวิธีทางป้องกันอย่างไร ร่วมวิเคราะห์เจาะลึกทุกประเด็นจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ โดย ศ.ดร.เมธี เวชารัตนา คณะวิศวกรรมโยธาและวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีแห่งนิวเจอซี่ สหรัฐอเมริกา “ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดสิ่งแวดล้อม วัตถุมีพิษ และกากของเสียอันตราย”
คุณสุเมธา วิเชียรเพชร ผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการฉุกเฉินและฟื้นฟู กรมควบคุมมลพิษ “บุคคลแรกที่เข้าไปปฏิบัติการตรวจสอบ ควบคุม แก้ไข ระงับหรือฟื้นฟู ทุกพื้นที่ที่เกิดปัญหามลพิษในประเทศไทย”
คุณจิตติมา บ้านสร้าง รองประธานชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม 2553 เวลา 09.30 – 11.30 น. ณ ห้องประชุม 110 ส่วนงานกลาง
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี
สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.nstda.or.th/rbd
สนใจลงทะเบียนเข้าฟังล่วงหน้าได้ที่
โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1461-2
อีเมล์ : thaismc@nstda.or.th
กำหนดการงานเสวนา
09.00 – 09.30 น. ลงทะเบียน
09.30 – 11.00 น. ดร.นพวรรณ ตันพิพัฒน์ ผู้ดำเนินรายการกล่าวเชิญวิทยากร ทั้ง 3 ท่าน แนะนำประวัติ
ส่วนตัวและเริ่มการเสวนา
11.00 – 11.25 น. ถาม – ตอบ
11.25 – 11.30 น. ผู้ดำเนินรายการ กล่าวขอบคุณและมอบของที่ระลึกให้วิทยากรทั้ง 3 ท่าน
11.30 น. ปิดการเสวนา
รายชื่อวิทยากรรับเชิญ
ศ.ดร.เมธี เวชารัตนา คณะวิศวกรรมโยธาและวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีแห่งนิวเจอซี่ สหรัฐอเมริกา
จะนำเสนอข้อมูลและบอกเล่าถึงสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของโลกในปัจจุบันเป็นอย่าง ไร มีการเปลี่ยนแปลงจากอดีตมากน้อยอย่างไร และวิธีการบริหารจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อม ได้แก่ มลพิษกากของเสียอันตราย โลหะหนัก ก๊าซพิษ รวมถึงแนวทางการป้องกันและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของต่างประเทศ
คุณสุเมธา วิเชียรเพชร ผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการฉุกเฉินและฟื้นฟู กรมควบคุมมลพิษ
จะนำเสนอข้อมูลสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย และประมวลข้อมูลสถานการณ์และแนวทางในการป้องกันเกี่ยวกับปัญหา กากของเสีย สารอันตราย รวมทั้งบอกเล่าถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในนิคมอุตสาหกรรม เพื่อให้ผู้เข้าฟังได้ตระหนักและรับรู้ถึงข้อมูลที่เป็นจริง
คุณจิตติมา บ้านสร้าง รองประธานชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย จะนำเสนอข้อมูลในมุมมองของสื่อสารมวลชนด้านสิ่งแวดล้อม มีมุมมองแนวคิดอย่างไรกับสิ่งแวดล้อม และวิธีการแก้ไขปัญหาของภาครัฐบาล รวมถึงบทบาทการทำงานของนักสื่อสารมวลชนจะมีบทบาทอย่างไรในการแก้ไขปัญหาสิ่ง แวดล้อมของประเทศไทย
--
ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
http://www.thaifreedompress.blogspot.com/
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.media4democracy.com/th/
http://www.youngtelecom.org/
http://www.logex.kmutt.ac.th/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm
http://www.isriya.com/node/2809/wordcamp-bangkok-2009-pool-party
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น