1.
ชื่อโครงการ การประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ประจำปี 25532.
ผู้รับผิดชอบ ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่งานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา3.
ความสำคัญของโครงการมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราชได้ดำเนินการจัด
“การประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย
” มาโดยตลอดและต่อเนื่อง สำหรับในปี 2553 นี้ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้ร่วมกับเครือข่ายวิจัยประชาชื่น ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย
กรุงเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระ
นคร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาลัยราชพฤกษ์ และสถาบันเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
ได้ร่วมกันจัด
“การประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ประจำปี 2553” ขึ้น เพื่อเป็นเวทีให้แก่นักวิจัยในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งนำผลงานวิจัยไปเผยแพร่สู่สาธารณชนอันจะ
ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้องและสังคมโดยรวมต่อไป
4.
วัตถุประสงค์4.1
เพื่อส่งเสริมให้คณาจารย์และนักวิจัยได้เผยแพร่ผลงานวิจัยไปสู่สาธารณชน4.2
เพื่อให้คณาจารย์ นักวิจัย และผู้เกี่ยวข้อง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากการศึกษาวิจัยใหม่ๆ รวมทั้งเกิดการสร้างเครือข่ายทางด้านการวิจัย
4.3
เพื่อสร้างบรรยากาศการวิจัย โดยจัดพิธีมอบรางวัลผลงานวิจัย ประจำปี 2552ให้แก่นักวิจัยของมหาวิทยาลัย
5.
เป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุมฯ ประกอบด้วยบุคคลภายนอกและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย จำนวน
200
คน ได้แก่ คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย ประชาชนและผู้สนใจทั่วไป6.
ระยะเวลาดำเนินการวันพฤหัสบดีที่
8 เมษายน 2553 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุม 5209อาคารสัมมนา
1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช2
7.
วิธีดำเนินการการจัดประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ประจำปี
2553 มีวิธีดำเนินการ ดังนี้7.1
พิธีมอบโล่ประกาศเกียรติคุณผลงานวิจัย ประจำปี 25527.2
การอภิปราย7.2
การนำเสนอผลงานวิจัย8.
การนำเสนอผลงานวิจัยผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยต้องไม่เคยนำเสนอในการประชุมเสนอผลงานที่ใดมาก่อน รูปแบบการ
นำเสนอผลงานเป็นแบบบรรยาย
(Oral Presentation) ต้องนำเสนอด้วย PowerPoint และใช้เวลาในการนำเสนอเรื่องละ
15 นาที ซักถาม 5 นาที ทั้งนี้ การตอบรับให้นำเสนอผลงานขึ้นอยู่กับการคัดเลือกของคณะกรรมการผู้ทรงวุฒิ
การเตรียมผลงานเรื่องเต็ม
(Full Paper)ผู้ที่ประสงค์จะส่งผลงานวิจัยเรื่องเต็ม
(Full Paper) เพื่อลงตีพิมพ์ใน Proceedings ขอให้ส่งพร้อมบทคัดย่อภาษาอังกฤษ
(ตามรายละเอียดการเตรียมบทคัดย่อ) โดยเขียนผลงานวิจัยเรื่องเต็มลงในกระดาษ
A4 ความยาว 4-10 หน้า เว้นขอบกระดาษด้านบนและด้านซ้าย ด้านละ 1 นิ้วด้านล่างและด้านขวา ด้านละ
1 นิ้ว โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้1.
ชื่อเรื่องภาษาไทย ใช้ตัวอักษร Angsana New ขนาด 14 ตัวเข้ม และภาษาอังกฤษใช้อักษร
Time New Roman ขนาด 12 ตัวเข้ม2.
ชื่อผู้เขียนและที่อยู่ ใช้ตัวอักษร Angsana New ขนาด 12 ตัวธรรมดา3.
บทคัดย่อ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จำนวนคำไม่เกิน 400 คำ พร้อมด้วยคำสำคัญ
(Keyword) 3-5 คำ อยู่ด้วยกันใน 1 หน้ากระดาษ-
บทคัดย่อและคำสำคัญภาษาไทย : ใช้อักษร Angsana New ขนาด 14 ตัวธรรมดา
-
บทคัดย่อและคำสำคัญภาษาอังกฤษ : ใช้อักษร Time New Roman ขนาด12
ตัวธรรมดา1.
เนื้อหางานวิจัย หัวข้อหลักให้ใช้ตัวอักษร Angsana New ขนาด 14 ตัวเข้มและหัวข้อรองใช้อักษร
Angsana New ขนาด 14 ตัวเอียงเข้ม ส่วนเนื้อหาใช้อักษรAngsana Newขนาด
14 ตัวธรรมดา ถ้าเขียนผลงานวิจัยเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้อักษร Time New Roman ขนาด3
12
ตัวธรรมดาทั้งหมด โดยเนื้อหาประกอบด้วย บทนำ วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการวิจัยอภิปรายผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย กิตติกรรมประกาศ รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
สำหรับภาพประกอบเป็นภาพขาวดำที่ชัดเจน ขนาดไม่น้อยกว่า
3x5 นิ้ว ภาพลายเส้นและตารางประกอบเขียนเป็นเส้นหมึกดำชัดเจน ถ้าเขียนบทความเป็นภาษาไทย คำอธิบาย
ตารางและภาพประกอบต้องเป็นภาษาไทยด้วย
การเขียนรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมเขียนแบบ
APA Style ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1.
หนังสือชื่อผู้แต่ง
. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ (ครั้งที่พิมพ์). สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์.Streibal, Barbara, J. (2003).
The Manager’s Guide to Effective Meetings. New York:McGraw-Hill.
2.
วิทยานิพนธ์ชื่อผู้ทำวิทยานิพนธ์
, (ปีที่พิมพ์). ชื่อวิทยานิพนธ์. ระดับวิทยานิพนธ์, ชื่อสาขาวิชา, คณะ, ชื่อมหาวิทยาลัย
.นภัสสร สุทธิกุล
, (2546). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทำโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5 โรงเรียนเทพมงคลรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาศึกษาศาสตร์,มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
.3.
บทความในวารสารชื่อผู้เขียนบทความ
. (ปีที่พิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่หรือเล่มที่ (ฉบับที่ (ถ้ามี)), เลขหน้า.Himmelfrab, G. (1999). Revolution in the Library.
Library Trends, 47(4), 612-619.เอกสารประกอบการส่งผลงาน
1.
ใบสมัคร2.
บทความวิจัย 3 ชุด พร้อม Fileกำหนดการส่งผลงาน
ประเภทผลงาน รับบทคัดย่อและ
ผลงานวิจัยเรื่องเต็ม
แจ้งผลการพิจารณา สิ้นสุดกำหนดส่งผล
งานฉบับแก้ไข
วิจัยทั่วไป ภายใน
30 ธ.ค 52 29 ม.ค. 53 26 ก.พ. 534
9.
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ9.1
ผู้เข้าร่วมประชุมได้นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ
9.2
เกิดการสร้างเครือข่ายด้านการวิจัย9.3
กระตุ้นบุคลากรและสร้างบรรยากาศทางด้านการวิจัยในมหาวิทยาลัย10.
กำหนดการการประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย จัดขึ้นในวันที่
8 เมษายน 2553ณ ห้องประชุม
5209 อาคารสัมมนา 1 โดยมีรายละเอียดดังนี้08.00-08.45
น. - ลงทะเบียนรับเอกสาร08.45-09.00
น. - พิธีเปิดการประชุม โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช09.00-09.30
น. - พิธีมอบโล่ประกาศเกียรติคุณผลงานวิจัย ประจำปี 255209.30-12.00
น. - การอภิปรายโดยผู้ทรงคุณวุฒิ เรื่อง งานวิจัยที่ดีคัดสรรมาได้อย่างไร12.00-13.00
น. - พักรับประทานอาหาร13.00- 16.30
น. - การนำเสนอผลงานวิจัย(
หมายเหตุ : พักรับประทานอาหารว่างเวลา 10.30-10.45 น. และ 14.30-14.45 น.)http://www.stou.ac.th/offices/ord/New/download/project.pdf
--
โปรดอ่านบล็อก
http://www.pridiinstitute.com
http://twitter.com/sweetblog
http://twitter.com/oknewsblog
http://twitter.com/okblogger
http://twitter.com/sat191
http://www.pacc.go.th/
http://twitter.com/okblogchan
http://twitter.com/sun1951
http://twitter.com/smeblogger
http://twitter.com/seminarblog
http://twitter.com/sunnewsblog
http://twitter.com/okworldblog
http://twitter.com/ktblogger
http://twitter.com/sundayblog
http://twitter.com/mondayblog
http://twitter.com/tuesdayblog
http://twitter.com/wednesdayblog
http://twitter.com/thursdayblog
http://twitter.com/fridayblog
http://twitter.com/saturdayblog
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น